ในภาพรวมการส่งออกรายสินค้าเดือนมี.ค.พบว่า ขยายตัวได้ทั้งในกลุ่มสินค้าเกษตร สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม รวมถึงสินค้าแร่และเชื้อเพลิง
ผลกระทบจากสงครามในยูเครนยังไม่ส่งผลต่อการส่งออกในเดือนกุมภาพันธ์ โดยการส่งออกในเดือนนี้ขยายตัว 16.2% เร่งตัวขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 8% โดยหากพิจารณาเทียบกับเดือนมกราคม (ปรับผลของฤดูกาล) การส่งออกจะขยายตัว 4.4% (MOM, SA)
การส่งออกในเดือนแรกของปี 2022 ขยายตัว 8% ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัว 24.7% อยู่มาก ซึ่งสอดคล้องกับการชะลอตัวของการส่งออกของหลายประเทศสำคัญทั่วโลกในเดือนมกราคม
มูลค่าการส่งออกเดือนมิถุนายน 2021 ขยายตัวถึง 43.8% (YOY) นับเป็นอัตราการขยายตัวที่สูงสุด ในรอบ 11 ปี และหากหักทองคำการส่งออกจะขยายตัว 43.4% (YOY)
มูลค่าส่งออกเดือนธันวาคม 2020 พลิกกลับมาขยายตัวที่ 4.7%YOY หลังจากหดตัว -3.6%YOY ในเดือนก่อนหน้า เมื่อหักทองคำ การส่งออกขยายตัวมากขึ้นเล็กน้อยที่ 5.0%YOY
มูลค่าส่งออกเดือนพฤศจิกายน 2020 หดตัว -3.6%YOY หลังจากหดตัว -6.7%YOY ในเดือนก่อนหน้า โดยในช่วง 11 เดือนแรกของปี 2020 การส่งออกในภาพรวมหดตัวที่ - 6.9%YOY และเมื่อหักทองคำและการส่งกลับอาวุธไปสหรัฐฯ การส่งออกจะหดตัวสูงขึ้นเป็น -9.5%YOY
โดยในช่วง 10 เดือนแรกของปี 2563 มูลค่าการส่งออกอาหารและเครื่องดื่มของไทยอยู่ที่ 20,967.80 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 3.6 (YoY)
หลังจากหดตัว -3.9%YOY ในเดือนก่อนหน้า โดยหากหักทองคำ การส่งออกจะหดตัวเหลือ -6.4%YOY
สินค้าส่งออกสำคัญในภาคอุตสาหกรรมหดตัวน้อยลง โดยเฉพาะการส่งออกยานยนต์ เคมีภัณฑ์และพลาสติก และเครื่องจักรกล ในขณะที่สินค้าที่เกี่ยวข้องกับอาหาร การอยู่อาศัยและทำงานที่บ้าน
สินค้าส่งออกสำคัญส่วนใหญ่ยังคงหดตัวใกล้เคียงกับเดือนก่อนหน้า โดยเฉพาะการส่งออกยานยนต์ สินค้าเกษตร และสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน
ฉุดภาพรวมส่งออกไทยครึ่งแรกของปี 2563 หดตัว 7.1% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (YoY)
มูลค่าการส่งออกเดือนพฤษภาคม 2020 หดตัวในระดับสูงถึง -22.5%YOY และหากหักทองคำ การส่งออกจะหดตัวเพิ่มเติมเป็น -27.8%YOY