Google Trends เผย 3 หมวดพฤติกรรมเชิงลึกของคนไทย หลังช่วงล็อกดาวน์
22 มิ.ย. 2020
Google ประเทศไทย เผย 3 หมวดหมู่พฤติกรรมแบบ New Normal ของคนไทยด้วยข้อมูลเชิงลึกจาก Google Trends ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตของผู้คนหลังการแพร่ระบาดของ COVID-19 ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา
สัญญาณสะท้อนพฤติกรรมต่างๆ ของผู้บริโภคที่เกิดขึ้น แบ่งเป็น 3 หมวดหมู่ ดังนี้
1) พฤติกรรมแบบ “เริ่มแล้วเลิก” (Start/Stop)
พฤติกรรมที่ผู้บริโภคเริ่มทำในช่วงระยะเวลาหนึ่ง แต่พอเหตุการณ์นั้นๆจบลง ก็จะเลิกทำไป
พฤติกรรมที่ผู้บริโภคเริ่มทำในช่วงระยะเวลาหนึ่ง แต่พอเหตุการณ์นั้นๆจบลง ก็จะเลิกทำไป
อย่างการเกิดขึ้นของสถานการณ์ COVID-19 ทำให้ผู้บริโภครู้สึกตื่นตัวที่จะค้นหาสินค้าเพื่อปกป้องตัวเองและครอบครัวจากเชื้อไวรัส เช่น หน้ากากอนามัย, แอลกอฮอล์, เจลล้างมือ มียอดเสิร์ชบน Google ในช่วงเดือน มีนาคม -เมษายน พุ่งสูงขึ้นอย่างมาก
แต่พอหลังจากเดือนพฤษภาคม ที่สถานการณ์เริ่มคลี่คลาย
ยอดเสิร์ชหาผลิตภัณฑ์เหล่านี้ ก็ลดน้อยลงอย่างต่อเนื่อง จนอยู่ระดับใกล้เคียงก่อนช่วง COVID-19
ยอดเสิร์ชหาผลิตภัณฑ์เหล่านี้ ก็ลดน้อยลงอย่างต่อเนื่อง จนอยู่ระดับใกล้เคียงก่อนช่วง COVID-19
หรือในทางตรงกันข้าม พฤติกรรมที่ผู้บริโภคหยุด หรือระงับในช่วง COVID-19
เช่น การเสิร์ชหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด เพราะผู้คนไม่ออกจากบ้านกัน
ตอนนี้ ยอดเสิร์ชก็เริ่มกลับมาเป็นปกติ โดยเทียบเท่ากับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน
เช่น การเสิร์ชหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด เพราะผู้คนไม่ออกจากบ้านกัน
ตอนนี้ ยอดเสิร์ชก็เริ่มกลับมาเป็นปกติ โดยเทียบเท่ากับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน
สรุปคือ พฤติกรรมในหมวดนี้ หลังจากที่มีการผ่อนปรนมาตรการควบคุมต่างๆ
มีแนวโน้มที่จะฟื้นกลับสู่รูปแบบปกติ เหมือนช่วงก่อนหน้าสถานการณ์ COVID-19
มีแนวโน้มที่จะฟื้นกลับสู่รูปแบบปกติ เหมือนช่วงก่อนหน้าสถานการณ์ COVID-19
2) พฤติกรรมที่ผู้บริโภค “เริ่มแล้วทำต่อไป” (Step-change)
เป็นพฤติกรรมใหม่ที่เกิดขึ้น เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง เช่น COVID-19
และพฤติกรรมใหม่นี้ มีแนวโน้มที่จะกลายเป็นพฤติกรรมปกติต่อไป
เป็นพฤติกรรมใหม่ที่เกิดขึ้น เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง เช่น COVID-19
และพฤติกรรมใหม่นี้ มีแนวโน้มที่จะกลายเป็นพฤติกรรมปกติต่อไป
เช่น พฤติกรรมเสพและสร้างคอนเทนต์ เพื่อการพัฒนาทักษะจากที่บ้าน
โดยในช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม การค้นหาเกี่ยวกับ “การเรียน” บน YouTube เพิ่มขึ้นมากกว่า 2 เท่าเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า เช่น การเรียนภาษาอังกฤษ, ภาษาเกาหลี, ภาษาจีน
โดยในช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม การค้นหาเกี่ยวกับ “การเรียน” บน YouTube เพิ่มขึ้นมากกว่า 2 เท่าเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า เช่น การเรียนภาษาอังกฤษ, ภาษาเกาหลี, ภาษาจีน
ในขณะที่การเสิร์ชบน Google
“เรียนออนไลน์ ได้เกียรติบัตร” เพิ่มขึ้น 25 เท่า
“คอร์ส ออนไลน์” เพิ่มขึ้น 4 เท่า
“สอน ออนไลน์” เพิ่มขึ้น 7 เท่า เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า
“เรียนออนไลน์ ได้เกียรติบัตร” เพิ่มขึ้น 25 เท่า
“คอร์ส ออนไลน์” เพิ่มขึ้น 4 เท่า
“สอน ออนไลน์” เพิ่มขึ้น 7 เท่า เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า
และพฤติกรรมการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคออนไลน์
ด้วยข้อจำกัดด้านการเดินทาง ทำให้ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา มีการเสิร์ชหาร้านขายสินค้าอุปโภคบริโภคออนไลน์เพิ่มขึ้นถึง 6 เท่า โดยการค้นหาไฮเปอร์มาร์เก็ต และร้านสะดวกซื้อเพิ่มขึ้นแตะจุดสูงสุดในประวัติศาสตร์
ด้วยข้อจำกัดด้านการเดินทาง ทำให้ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา มีการเสิร์ชหาร้านขายสินค้าอุปโภคบริโภคออนไลน์เพิ่มขึ้นถึง 6 เท่า โดยการค้นหาไฮเปอร์มาร์เก็ต และร้านสะดวกซื้อเพิ่มขึ้นแตะจุดสูงสุดในประวัติศาสตร์
ตัวอย่างพฤติกรรมในรูปหมวดนี้ ทั้งการพัฒนาทักษะจากที่บ้าน และการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคออนไลน์
แม้จะผ่านช่วง COVID-19 ไปแล้ว ก็ยังคงมีระดับการเสิร์ชหาข้อมูลสูงเช่นเดิม
ซึ่งสะท้อนว่าผู้บริโภคได้รับพฤติกรรมเหล่านี้ ให้กลายเป็นพฤติกรรมปกติใหม่ไปแล้ว
แม้จะผ่านช่วง COVID-19 ไปแล้ว ก็ยังคงมีระดับการเสิร์ชหาข้อมูลสูงเช่นเดิม
ซึ่งสะท้อนว่าผู้บริโภคได้รับพฤติกรรมเหล่านี้ ให้กลายเป็นพฤติกรรมปกติใหม่ไปแล้ว
3) พฤติกรรมที่ผู้บริโภค “กระแสรองเป็นกระแสหลัก” (Speed up)
เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นก่อนช่วง COVID-19 อยู่แล้ว แต่เกิดกับผู้บริโภคบางกลุ่ม
แต่พอเกิดเหตุการณ์ COVID-19 เลยเป็นตัวเร่งทำให้ผู้บริโภคกลุ่มอื่นๆ
รับเอาพฤติกรรมนี้ไปใช้ในวงกว้างอย่างรวดเร็ว จนเป็นกระแสหลัก
เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นก่อนช่วง COVID-19 อยู่แล้ว แต่เกิดกับผู้บริโภคบางกลุ่ม
แต่พอเกิดเหตุการณ์ COVID-19 เลยเป็นตัวเร่งทำให้ผู้บริโภคกลุ่มอื่นๆ
รับเอาพฤติกรรมนี้ไปใช้ในวงกว้างอย่างรวดเร็ว จนเป็นกระแสหลัก
เช่น การสั่งอาหารเดลิเวอรี และการทำอาหารที่บ้าน
ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ความจำเป็นต้องทานอาหารที่บ้านทำให้การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับบริการส่งอาหารนั้นสูงเพิ่มขึ้น 4 เท่า และมีการค้นหาเมนูอาหารเพิ่มขึ้น 2 เท่า เมื่อเทียบกับช่วงเวลาก่อน COVID-19
ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ความจำเป็นต้องทานอาหารที่บ้านทำให้การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับบริการส่งอาหารนั้นสูงเพิ่มขึ้น 4 เท่า และมีการค้นหาเมนูอาหารเพิ่มขึ้น 2 เท่า เมื่อเทียบกับช่วงเวลาก่อน COVID-19
รวมถึงอุปกรณ์สำหรับทำอาหาร เช่น หม้อทอดไร้น้ำมัน เพิ่มขึ้น 25 เท่า
เตาไฟฟ้า เพิ่มขึ้น 5 เท่า และ ไมโครเวฟ 2.5 เท่า
เตาไฟฟ้า เพิ่มขึ้น 5 เท่า และ ไมโครเวฟ 2.5 เท่า
นอกจากนี้ ยอดเสิร์ชไปที่เว็บไซต์ของร้านค้าผู้จัดจำหน่ายสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ และตกแต่งบ้านเพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่าในช่วงกักตัว
เช่น จักรเย็บผ้า เพิ่มขึ้น 4.4 เท่า, เครื่องเล่นวิดีโอเกม เพิ่มขึ้น 2.4 เท่า และแล็ปท็อป เพิ่มขึ้น 2 เท่า
เนื่องจากผู้บริโภคพยายามแสวงหากิจกรรมเพื่อความบรรเทิง และงานอดิเรกใหม่ๆ ทำเมื่ออยู่บ้าน
เช่น จักรเย็บผ้า เพิ่มขึ้น 4.4 เท่า, เครื่องเล่นวิดีโอเกม เพิ่มขึ้น 2.4 เท่า และแล็ปท็อป เพิ่มขึ้น 2 เท่า
เนื่องจากผู้บริโภคพยายามแสวงหากิจกรรมเพื่อความบรรเทิง และงานอดิเรกใหม่ๆ ทำเมื่ออยู่บ้าน
พฤติกรรมสังคมไร้เงินสด
การใช้จ่าย-โอนเงินผ่านช่องทาง Prompt Pay และยอดดาวน์โหลดแอปพลิเคชันของธนาคารต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างมาก ตั้งแต่ช่วงปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมา
คนที่ไม่เคยใช้งาน ก็หันมาลองใช้งานด้วยความจำเป็น
เพราะผู้คนไม่อยากออกไปสาขาธนาคาร รวมถึงลดการแพร่เชื้อ ที่เกิดจากการจับเงินสด
การใช้จ่าย-โอนเงินผ่านช่องทาง Prompt Pay และยอดดาวน์โหลดแอปพลิเคชันของธนาคารต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างมาก ตั้งแต่ช่วงปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมา
คนที่ไม่เคยใช้งาน ก็หันมาลองใช้งานด้วยความจำเป็น
เพราะผู้คนไม่อยากออกไปสาขาธนาคาร รวมถึงลดการแพร่เชื้อ ที่เกิดจากการจับเงินสด
ซึ่งระดับธุรกรรมทางการเงินบนออนไลน์ หรือแอปต่างๆ มีแนวโน้มที่จะไม่ลดลงในระยะยาว
เพราะเมื่อผู้บริโภคได้ลองใช้งานแล้ว ส่วนใหญ่จะรู้สึกถึงความสะดวกสบาย และจะมีแนวโน้มใช้งานต่อไป
เพราะเมื่อผู้บริโภคได้ลองใช้งานแล้ว ส่วนใหญ่จะรู้สึกถึงความสะดวกสบาย และจะมีแนวโน้มใช้งานต่อไป