เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2022 ขยายตัว 2.2% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า (YOY) หรือคิดเป็น 1.1% เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า หลังปรับปัจจัยฤดูกาล (QOQ sa) ขยายตัวต่อเนื่องจากไตรมาสสุดท้ายของปี 2021 ที่ 1.8%YOY
Facebook > facebook.com/MarketThinkTH Twitter > twitter.com/MarketThinkTH IG > instagram.com/marketthinkth/ Blockdit > blockdit.com/marketthinkth
สาเหตุหนึ่ง มาจากการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมต่าง ๆ ในเดือนกันยายน น้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยการผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวเพียง 3.1% เมื่อเทียบกับที่สำนักข่าว Reuters คาดการณ์ไว้ที่ 4.5%
ผลจากปัจจัยฐานต่ำในไตรมาสที่ 2/2563 ที่หดตัว 12.1% จากมาตรการของภาครัฐ เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ระลอกแรก ที่ส่งผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ
IG > instagram.com/marketthinkth/
โดยการใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคขั้นสุดท้ายของเอกชน และรัฐบาลขยายตัว การลงทุนในประเทศ และการส่งออกสินค้าปรับตัวดีขึ้น ขณะที่รายรับจากบริการต่างประเทศยังคงหดตัวต่อเนื่อง
ปรับตัวดีขึ้นจากที่ลดลง 12.1% ในไตรมาสที่ 2/2563 ปัจจัยสำคัญ มาจากการส่งออกสินค้าและบริการ การลงทุนภาคเอกชน และการใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคขั้นสุดท้ายของเอกชนปรับตัวดีขึ้น
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยยังเผชิญความไม่แน่นอนสูง จากทั้งสถานการณ์การระบาดโควิด-19, การแข็งค่าของเงินบาท รวมถึงประเด็นทางการเมือง
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ สศช. เผย GDP ในประเทศของไตรมาสที่ 2/2563 ลดลง 12.2% (ในไตรมาสที่ 1/2563 ลดลง 2.0%)
ปัจจัยสงครามการค้าที่ส่งผลต่อภาพรวมการค้าโลกให้ชะลอตัวลงในวงกว้าง ส่งผลให้การส่งออกไทยในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 2 ยังติดลบต่อเนื่อง โดยการส่งออกสินค้าของไทยในเดือน พ.ค. 2562 มีมูลค่าอยู่ที่ 21,018 ล้านดอลลาร์ฯ หดตัวร้อยละ 5.79 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (YoY)