หลัง COVID-19 การจ้างงานจะมากขึ้น หรือ น้อยลง ?
24 มิ.ย. 2020
จากผลสำรวจของ จ๊อบส์ ดีบี (ประเทศไทย)
เปิดเผยว่าในช่วงการระบาดของ COVID-19 มีพนักงานถูกเลิกจ้าง 9%
อีก 16% ให้พักงานโดยไม่ได้รับเงินเดือน
เปิดเผยว่าในช่วงการระบาดของ COVID-19 มีพนักงานถูกเลิกจ้าง 9%
อีก 16% ให้พักงานโดยไม่ได้รับเงินเดือน
โดยกลุ่มที่ได้รับผลกระทบมากสุดคือพนักงานเงินเดือนต่ำกว่า 16,000 บาท ที่มีลักษณะงานเป็นสัญญาจ้าง และอายุมากกว่า 45 ปี ที่ทำงานในบริษัทเล็กๆ
นอกจากนี้ยังได้สำรวจ “ดัชนีความสุขในการทำงานของแรงงานไทย”
ก่อนการระบาดของ COVID-19 พบดัชนีความสุขอยู่ที่ 85%
และในช่วงของการระบาดลดลงเหลือเพียง 59%
และในช่วงของการระบาดลดลงเหลือเพียง 59%
เหตุผลเพราะเครียดกับสถานการณ์ธุรกิจของบริษัทที่ต้องเจอความท้าทาย
ทีนี้หลายคนคงถามว่าแล้วต่อจากนี้ สถานการณ์การจ้างงานไทยจะวิกฤติกว่าเดิม หรือมีแนวโน้มที่ดีขึ้น
จ๊อบส์ ดีบี พบสัญญาณบวกในการจ้างงานจากฝั่งผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น
จากผลสำรวจพบว่าผู้ประกอบการ 88% มีแนวโน้มการจ้างงานอีกครั้งใน 6 เดือนข้างหน้า
โดยตำแหน่งงานที่เป็นที่ต้องการในตลาดนั้นได้แก่
1. งานไอที
2. งานการตลาดประชาสัมพันธ์
3. งานขาย/งานบริการลูกค้า/งานพัฒนาธุรกิจ
4. งานในร้านอาหารและบริการเครื่องดื่ม
5. จัดซื้อ
โดยตำแหน่งงานที่เป็นที่ต้องการในตลาดนั้นได้แก่
1. งานไอที
2. งานการตลาดประชาสัมพันธ์
3. งานขาย/งานบริการลูกค้า/งานพัฒนาธุรกิจ
4. งานในร้านอาหารและบริการเครื่องดื่ม
5. จัดซื้อ
แต่.. อย่าเพิ่งดีใจไป
เพราะการจ้างงานหลังจากนี้จะมีอัตราเงินเดือนที่น้อยลงหากเทียบกับก่อนเกิด COVID-19
เพราะการจ้างงานหลังจากนี้จะมีอัตราเงินเดือนที่น้อยลงหากเทียบกับก่อนเกิด COVID-19
ขณะเดียวกันก็มีสายงานที่สุ่มเสี่ยงต่อการถูกเลิกจ้าง
โดยเฉพาะธุรกิจที่ได้ผลกระทบจากเศรษฐกิจโดยตรงอย่างเช่น ก่อสร้างเรียลเอสเตส, ยานยนต์, ธุรกิจที่ขายสินค้าราคาสูง
โดยเฉพาะธุรกิจที่ได้ผลกระทบจากเศรษฐกิจโดยตรงอย่างเช่น ก่อสร้างเรียลเอสเตส, ยานยนต์, ธุรกิจที่ขายสินค้าราคาสูง
สุดท้ายแล้ว.. ตัวเราจะอยู่ในสถานการณ์ไหน
ก็ขึ้นอยู่กับว่าตัวเราเอง
ยังเลือกที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลาหรือไม่
แล้ว ปรับตัว กับการเปลี่ยนแปลงได้ดีแค่ไหน ดูน้อยลง
ก็ขึ้นอยู่กับว่าตัวเราเอง
ยังเลือกที่จะพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลาหรือไม่
แล้ว ปรับตัว กับการเปลี่ยนแปลงได้ดีแค่ไหน ดูน้อยลง