Dairy Queen กำลังเจอคู่แข่งที่น่ากลัว ในอนาคต
2 พ.ย. 2019
Dairy Queen ขายไอศกรีมประเภท Soft Serve
ที่มีไขมันเพียง 3-6% ผลิตที่อุณหภูมิประมาณ -4 องศาเซลเซียส
จึงทำให้มีเนื้อครีมที่เนียนนุ่ม
ที่มีไขมันเพียง 3-6% ผลิตที่อุณหภูมิประมาณ -4 องศาเซลเซียส
จึงทำให้มีเนื้อครีมที่เนียนนุ่ม
เมื่อความเย็นขนาดนี้ จึงทำให้เราสามารถเดินไปทานไปไอศกรีมจะละลายช้ามาก
ที่สำคัญยังมีราคาที่เข้าถึงได้ง่าย
ที่สำคัญยังมีราคาที่เข้าถึงได้ง่าย
ที่น่าสนใจก็คือไอศกรีมประเภท Soft Serve ในไทย
กลับมีคู่แข่งยักษ์ใหญ่เพียงไม่กี่รายจะมีก็แต่ McDonald และ KFC
แต่ 2 แบรนด์นี้ก็ไม่ได้ทำธุรกิจไอศกรีมจริงจัง
กลับมีคู่แข่งยักษ์ใหญ่เพียงไม่กี่รายจะมีก็แต่ McDonald และ KFC
แต่ 2 แบรนด์นี้ก็ไม่ได้ทำธุรกิจไอศกรีมจริงจัง
เมื่อเรื่องเป็นเช่นนี้ Dairy Queen จึงแทบจะกินเรียบ ด้วยส่วนแบ่งตลาดเกือบๆ 80%
จากมูลค่าตลาดไอศกรีม Soft Serve ประมาณ 2,500 - 3,000 ล้านบาท
จากมูลค่าตลาดไอศกรีม Soft Serve ประมาณ 2,500 - 3,000 ล้านบาท
เมื่อคู่แข่งน้อยราย แถมมูลค่าตลาดก็ไม่ได้เล็ก
ทำให้ CRG หรือกลุ่ม เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จำกัด
จึงอยากจะเข้ามาแย่งชิงลูกค้าจาก Dairy Queen
ทำให้ CRG หรือกลุ่ม เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จำกัด
จึงอยากจะเข้ามาแย่งชิงลูกค้าจาก Dairy Queen
ด้วยแบรนด์ที่คิดค้นเองมากับมือนาน 2 ปี โดยใช้ชื่อว่า Soft Air
ซึ่งแตกต่างจากธุรกิจอาหาร ที่ CRG นิยมซื้อแฟรนไชส์จากต่างประเทศ
ซึ่งแตกต่างจากธุรกิจอาหาร ที่ CRG นิยมซื้อแฟรนไชส์จากต่างประเทศ
เหตุผลที่ CRG มองว่าตลาดนี้หอมหวานคือนอกจากคู่แข่งจะน้อยรายแล้วนั้น
ยังเป็นธุรกิจที่สามารถขยายสาขาได้อย่างรวดเร็ว เพราะไม่ต้องใช้พื้นที่ร้านมาก
ยังเป็นธุรกิจที่สามารถขยายสาขาได้อย่างรวดเร็ว เพราะไม่ต้องใช้พื้นที่ร้านมาก
ทำให้ใช้เงินลงทุนเริ่มต้นแค่ 4 แสนบาท จนถึง 1 ล้านบาท
ในขณะพื้นที่ 15- 20 ตารางเมตร ก็สามารถปักหมุดเปิดสาขาได้ทันที
แถมยังเลือกทำเลขยายสาขา ได้ง่ายกว่าร้านไอศกรีมที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่
ในขณะพื้นที่ 15- 20 ตารางเมตร ก็สามารถปักหมุดเปิดสาขาได้ทันที
แถมยังเลือกทำเลขยายสาขา ได้ง่ายกว่าร้านไอศกรีมที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่
เมื่อต้นทุนการเปิดสาขาน้อย และเลือกทำเลได้ง่ายนี้เอง
ที่ทำให้ CRG คิดจะใช้เวลา 5 ปีขยายไปถึง 100 สาขา
จากปัจจุบันเพิ่งเปิดสาขาแรกไปที่ สยามเซ็นเตอร์
ที่ทำให้ CRG คิดจะใช้เวลา 5 ปีขยายไปถึง 100 สาขา
จากปัจจุบันเพิ่งเปิดสาขาแรกไปที่ สยามเซ็นเตอร์
โดยจะเน้นขยายสาขาด้วยแฟรนไชส์ในสัดส่วน 50 - 50
ซึ่งเป็นโมเดลที่ไม่ได้แตกต่างจาก Dariy Queen ที่ 503 สาขาเกือบๆ 50%
คือสาขาของแฟรนไชส์
ซึ่งเป็นโมเดลที่ไม่ได้แตกต่างจาก Dariy Queen ที่ 503 สาขาเกือบๆ 50%
คือสาขาของแฟรนไชส์
อย่างไรก็ตามธุรกิจไอศกรีม Soft Serve ก็มีจุดอ่อน
คือเป็นธุรกิจที่ทำเลียนแบบขึ้นมาง่ายมาก
คือเป็นธุรกิจที่ทำเลียนแบบขึ้นมาง่ายมาก
เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงไม่แปลกที่ต้องหา เอกลักษณ์ ในสินค้าตัวเอง
เพื่อให้ลูกค้าจดจำแบรนด์เรา
เพื่อให้ลูกค้าจดจำแบรนด์เรา
Dariy Queen คือก่อนจะเสิร์ฟถึงมือเรา พนักงานจะคว่ำถ้วยไอศกรีม ไม่หล่น
ส่วน Soft Air ของ CRG ก็คือไอศกรีมโคนที่สามารถใส่รสชาติได้ถึง 7 รสในโคนเดียว
ส่วน Soft Air ของ CRG ก็คือไอศกรีมโคนที่สามารถใส่รสชาติได้ถึง 7 รสในโคนเดียว
ส่วนอีกหนึ่งจุดเด่นของ Dariy Queen ที่สร้างความจดจำได้ไม่แพ้
การคว่ำถ้วยไอศกรีมก็คือพนักงานน่ารักๆ
ใส่เสื้อยืดสีแดงประจำทุกร้าน
การคว่ำถ้วยไอศกรีมก็คือพนักงานน่ารักๆ
ใส่เสื้อยืดสีแดงประจำทุกร้าน
ถ้า CRG อยากจะสร้างความแตกต่างให้ไอศกรีม Soft Air
อีกอย่างนอกจากตัวสินค้าที่มีคุณภาพ เพื่อให้ลูกค้าจดจำ
“พนักงาน จึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม”
อีกอย่างนอกจากตัวสินค้าที่มีคุณภาพ เพื่อให้ลูกค้าจดจำ
“พนักงาน จึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม”
ปิดท้ายข้อมูลที่น่าสนใจ: รู้หรือไม่ว่าไอศกรีม Soft Air นั้นเมื่อหักต้นทุนทุกอย่าง
ในการทำธุรกิจจะมีกำไรอยู่ที่ 10% กว่าๆ
ในการทำธุรกิจจะมีกำไรอยู่ที่ 10% กว่าๆ
อีกทั้งเราอาจจะได้ทานไอศกรีม Soft Air ในร้านอาหาร
ต่างๆ ที่อยู่ในเครือ CRG ซึ่งเป็นแผนที่ถูกวางไว้ในอนาคต
ต่างๆ ที่อยู่ในเครือ CRG ซึ่งเป็นแผนที่ถูกวางไว้ในอนาคต