True ได้รับการยอมรับระดับโลกจาก DJSI ให้เป็นที่ 1 จากแนวคิดใส่ใจสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
6 มี.ค. 2020
หากพูดถึง True เราจะนึกถึงอะไร ?
หลายคนคงตอบว่า ผู้ให้บริการสัญญาณโทรศัพท์
ยอดนิยมในเมืองไทยที่มีผู้ใช้งาน 26.2 ล้านคน
หลายคนคงตอบว่า ผู้ให้บริการสัญญาณโทรศัพท์
ยอดนิยมในเมืองไทยที่มีผู้ใช้งาน 26.2 ล้านคน
แต่...ในอีกมิติหนึ่ง True ก็ยังเป็นบริษัทที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
และไม่ใช่การลงมือทำแบบฉาบฉวย แต่วิธีคิดของ True คือความยั่งยืน
และไม่ใช่การลงมือทำแบบฉาบฉวย แต่วิธีคิดของ True คือความยั่งยืน
และด้วยแนวคิดที่มีจุดยืนชัดเจนนี้เอง
ที่ทำให้ True กลายเป็นบริษัทสื่อสารโทรคมนาคมรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการยอมรับระดับโลกจาก DJSI หรือดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์
ที่ทำให้ True กลายเป็นบริษัทสื่อสารโทรคมนาคมรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการยอมรับระดับโลกจาก DJSI หรือดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์
โดยรางวัลนี้ พิจารณาจากบริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ทั่วโลกกว่า 3,400 บริษัท
ใน 60 อุตสาหกรรมที่เข้าร่วมการประเมินผลในครั้งนี้
ใน 60 อุตสาหกรรมที่เข้าร่วมการประเมินผลในครั้งนี้
ที่น่าสนใจก็คือไม่ใช่โดดเด่นแซงหน้าบริษัทโทรคมนาคมในประเทศไทย เท่านั้น
แต่...รู้หรือไม่ True ยังได้คะแนนสูงสุดอันดับ 1 สองปีซ้อน
หากเทียบกับบริษัทโทรคมนาคมทั่วโลก ที่เข้ารับการประเมินผลดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์
แต่...รู้หรือไม่ True ยังได้คะแนนสูงสุดอันดับ 1 สองปีซ้อน
หากเทียบกับบริษัทโทรคมนาคมทั่วโลก ที่เข้ารับการประเมินผลดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์
อะไรที่ทำให้ True โดดเด่นในเวทีระดับโลก ?
เราคงต้องบอกว่าเพราะ True นำเอาสิ่งที่ตัวเองถนัดที่สุดในการเป็นบริษัทโทรคมนาคม
ก็คือนวัตกรรมเทคโนโลยีล้ำๆ มาช่วยพัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบข้างในชีวิตเราให้เกิดความยั่งยืน
ก็คือนวัตกรรมเทคโนโลยีล้ำๆ มาช่วยพัฒนาสิ่งแวดล้อมรอบข้างในชีวิตเราให้เกิดความยั่งยืน
สะท้อนจาก 2 โครงการที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้คือ "We Grow" และ "บัวลอย"
โดยโครงการแรกเราคงคุ้นชื่อเป็นอย่างดีคือ We Grow
โดยโครงการแรกเราคงคุ้นชื่อเป็นอย่างดีคือ We Grow
เชื่อหรือไม่ว่าโครงการนี้ทำให้มีต้นไม้ในประเทศเราเพิ่มขึ้น 4.3 ล้านต้น
ที่สามารถกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกือบๆ 2.1 แสนตัน
ที่สามารถกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกือบๆ 2.1 แสนตัน
การจะทำอะไรที่ยิ่งใหญ่ขนาดนี้ นั้นหมายถึงต้องสร้างสังคมขนาดใหญ่ รวมคนที่มีหัวใจเดียวกัน
ซึ่ง True เองก็เป็นคนสร้างสังคมนั้นขึ้นมาผ่าน App ที่ชื่อว่า We Grow
ซึ่ง True เองก็เป็นคนสร้างสังคมนั้นขึ้นมาผ่าน App ที่ชื่อว่า We Grow
โดย App นี้จะเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่จะมีฟังก์ชันการใช้งานง่ายๆ ที่จะมาแบ่งปันข้อมูลสาระสนุกๆ ในการปลูกต้นไม้
เพราะหากเราปลูกต้นไม้ 1 ต้นแล้วใช้งาน App We Grow เมื่อโพสต์ข้อมูลต้นไม้ที่เราปลูก
อาทิเช่น สถานที่ปลูก, พันธุ์ต้นไม้ ก็จะมีการระบุว่าต้นไม้เราเป็นหนึ่งในสถิติการร่วมลดภาวะโลกร้อน
อีกทั้งยังสามารถอัปเดตการเติบโตได้ตลอดเวลาผ่านโปรไฟล์ของเรา
อาทิเช่น สถานที่ปลูก, พันธุ์ต้นไม้ ก็จะมีการระบุว่าต้นไม้เราเป็นหนึ่งในสถิติการร่วมลดภาวะโลกร้อน
อีกทั้งยังสามารถอัปเดตการเติบโตได้ตลอดเวลาผ่านโปรไฟล์ของเรา
เรื่องนี้เป็นอะไรที่สนุกแถมยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลต้นไม้ของคนที่อยู่ใน App
ซึ่งเป็นการสร้างเครือข่ายผู้รักต้นไม้ให้มารวมตัวกัน สร้างสรรค์ธรรมชาติสีเขียวที่สวยงาม
อีกทั้ง App นี้ยังรองรับการใช้งานได้หลายภาษาทั้ง ไทย, อังกฤษ, เยอรมันและจีน
ซึ่งเราสามารถใช้งานได้ทั้งระบบปฏิบัติการ iOS และ Android
ซึ่งเราสามารถใช้งานได้ทั้งระบบปฏิบัติการ iOS และ Android
ส่วนอีกหนึ่งโครงการเป็นการร่วมมือกับ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (สสนก.)
โดยมีชื่อเรียกเก๋ๆ ออกแนวไทยๆ คือ บัวลอย หรือ ‘Water Crisis Sensor’
โดยมีชื่อเรียกเก๋ๆ ออกแนวไทยๆ คือ บัวลอย หรือ ‘Water Crisis Sensor’
ซึ่งเจ้า บัวลอย ก็คือ อุปกรณ์ที่ใช้วัดระดับความลึกของแหล่งน้ำ ที่อัดแน่นไปด้วยเทคโนโลยีล้ำๆ มีการติดตั้งโซลาร์เซลล์บนอุปกรณ์ที่จะทำหน้าที่ส่งพลังงานเข้ามากักเก็บไว้ที่แบตเตอรี่
ส่วนด้านในตัวเครื่องจะมีซิมโทรศัพท์ True
ทำหน้าที่ส่งค่าข้อมูลต่างๆ ของแหล่งน้ำ ผ่านโทรศัพท์มือถือ
อีกทั้งข้อมูลต่างๆ เหล่านี้ยังเก็บเอาไว้บนคลาวด์ก่อนแสดงผล
ทำหน้าที่ส่งค่าข้อมูลต่างๆ ของแหล่งน้ำ ผ่านโทรศัพท์มือถือ
อีกทั้งข้อมูลต่างๆ เหล่านี้ยังเก็บเอาไว้บนคลาวด์ก่อนแสดงผล
โดยขณะนี้มีการทดลองใช้งานจริงอยู่ที่จังหวัดขอนแก่นทั้งหมด 4 เครื่อง และยังมีแนวโน้มที่จะแพร่หลายไปมากกว่านี้
หลายคนคงถามว่า เราจะวัดระดับความลึกของแหล่งน้ำต่างๆ ไปทำไม?
เหตุผลก็คือเพราะเราจะได้รู้ถึงปริมาณน้ำต่างๆ ในชุมชน อย่างถูกต้องชัดเจน
เพื่อที่จะเตรียมตัวบริหารน้ำได้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เพื่อที่จะเตรียมตัวบริหารน้ำได้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เพราะหากน้ำน้อย ไม่มีการเตรียมวางแผนไว้ล่วงหน้า
ก็อาจจะเกิดปัญหาอุปโภคบริโภคและการเกษตร ที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ก็อาจจะเกิดปัญหาอุปโภคบริโภคและการเกษตร ที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ
กลับกันหากน้ำมีปริมาณที่มากเกินความจำเป็น ก็มีโอกาสที่จะเกิดวิกฤตน้ำท่วม
การที่เรารู้ระดับความลึกของแหล่งน้ำต่างๆ ก็เพื่อวางแผนบริหารให้เกิดความสมดุลนั่นเอง
การที่เรารู้ระดับความลึกของแหล่งน้ำต่างๆ ก็เพื่อวางแผนบริหารให้เกิดความสมดุลนั่นเอง
มาถึงตรงนี้จะเห็นว่า True เลือกที่จะใช้เทคโนโลยี ซึ่งเป็นสิ่งที่ตัวเองถนัด มาสร้างสรรค์ให้แต่ละโครงการสามารถสร้างพลังกระจายไปสู่วงกว้าง ได้อย่างน่าเหลือเชื่อ
ลองคิดดูหากให้เราคนเดียวปลูกต้นไม้ขึ้นมาสักต้น โดยไม่มีคนมาสนใจ
เราก็คงรู้สึกหมดสนุก และอาจไม่มีต้นไม้ต้นที่สองที่มาจากมือของเรา
เราก็คงรู้สึกหมดสนุก และอาจไม่มีต้นไม้ต้นที่สองที่มาจากมือของเรา
แต่การมีสังคมออนไลน์อย่าง App We Grow ทำให้เรามีเพื่อนที่ชอบในสิ่งเดียวกัน
เราก็อยากที่จะปลูกต้นไม้ต้นต่อๆ ไป เพราะรู้สึกสนุกตื่นเต้น
เราก็อยากที่จะปลูกต้นไม้ต้นต่อๆ ไป เพราะรู้สึกสนุกตื่นเต้น
ส่วนโครงการ “บัวลอย” อุปกรณ์ไฮเทคที่วัดความลึกระดับแหล่งน้ำได้อย่างแม่นยำ
หากเราไม่มีเครื่องนี้ ก็อาจต้องใช้วิธีเดิมๆ ที่มีความยุ่งยากซับซ้อนมากกว่า
หากเราไม่มีเครื่องนี้ ก็อาจต้องใช้วิธีเดิมๆ ที่มีความยุ่งยากซับซ้อนมากกว่า
จึงไม่ต้องแปลกใจที่ 2 โครงการนี้ได้ทำให้ True นอกจากโดดเด่นกว่าบริษัทโทรคมนาคมอื่นๆ
ในเมืองไทย ยังสามารถก้าวขึ้นสู่เวทีระดับโลกด้วยรางวัล DJSI หรือดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์
ในเมืองไทย ยังสามารถก้าวขึ้นสู่เวทีระดับโลกด้วยรางวัล DJSI หรือดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์
ด้วยวิธีคิดก็คือการนำสิ่งที่ตัวเองเชี่ยวชาญที่สุดก็คือ เทคโนโลยีในการสื่อสาร
มาช่วยพัฒนาสิ่งแวดล้อมในเมืองไทยให้คงอยู่และพัฒนาไปอย่างยั่งยืน
มาช่วยพัฒนาสิ่งแวดล้อมในเมืองไทยให้คงอยู่และพัฒนาไปอย่างยั่งยืน
เป็นเส้นทางที่ทำให้ True พัฒนาตัวเองให้เป็นอัจฉริยภาพที่ก้าวสู่โลกใหม่ที่ยั่งยืน ได้อย่างสมบูรณ์แบบ
#TrueDJSI #TrueSustainability #TrueTogether